วันจันทร์ที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2550

http://seedang.com/stories/10378
http://seedang.com/stories/9427

เวปที่เข้าไปดูคลปตัวอย่างข้องต้น.....ผมลองเอามาใส่แล้ว เวป9427 มีปัญหาครับไม่สามารถอัฟโหลดได้ ผมเคยลองดันทุรังทำไปแล้วการจัดวางของหน้าBlogก็สลับกันมั่วไปหมดเลยครับ

Sequence ที่ลองออกแบบดู

ได้นำเอาคลิปที่มีอยู่แล้วมาลองตัดต่อในหัวข้อ"อุบัติเหตุ" ซึ่งเป็นตัวทดลองที่จะเอาไปงานออกแบบเพราะคลิปตามเวปเหมือนเครื่องมือสะดวกใช้ ที่มีปริมาณมาก และส่วนมากถ่ายโดยความต้องใจ แต่จะได้ผลลัพธ์เป็นความไม่ตั้งใจแทน ซึ่งจะของหยิบเอาบางส่วนมาลองเปรียบเทียบดู

เมื่อได้ข้อมูลตัวอย่างมาแล้วก็จัดการหาความเชื่อมโยงที่เกี่ยวข้องโดยแต่ละเหตุการณ์จะมีลำดับที่เหมือนกัน ดังนี้คือ
- มีการขับเคลื่อนของรถยนต์ที่ดูแล้วไม่น่าจะมีอุบัติเหตุ
- มีรถคนหนึ่งเกิดอุบัติเหตุ...โดยการชน
- อุบัติเหตุที่จบลง

***ทำไมถึงเลือกเอาอุบัติเหตุ เพราะถ้าเราเกิดอุบัติเหตุสิ่งที่จะเกิดก็จะเกิดความสูญเสีย คงไม่มีใครอยากให้เกิดและถ้าคนที่ทำให้เกิดอุบัติเหตุในการแสดงได้นั้นต้องยอมเสี่ยง เพราะดังนั้นคงไม่มีใครหน้าไหนทำอุบัติเหตุเล่นๆเพื่อโปรโมทตัวเองหรอก


การดำเนินของอุบัติเหตุทั้ง 2 ก่อให้เกิดทฤษฎีของ Sequenceคู่ขนานในรูปแบบของเรื่องที่เหมือนกัน ซึ่งเป็นเหตุการณ์เฉพาะที่ไม่ได้มีใครกำกับไว้

วันพฤหัสบดีที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2550

Sequence


นำลับดับความสำพันธ์(เซน)โดยให้ความสำคัญกับคนที่สนิทที่สุดในห้องก่อน

กำหนดความสำญโดยให้คนที่สนิทที่สุดเป นผู้เรื่มในช่องแรก และคนสนิทน้อยที่สุดจะเเป็นช่องสุดท้าย

นำข้อมูลของเพื่อนที่สอบถามโดยกำหนดหัวข้อ"วันที่หยุด" โดยข้อมูลที่ออกมาจะเป็นการสอบถามโดยใช้หลักข้อมูลโดยทั่วไป การสอบถามครั้งนี้อาจเปลี่ยนแปลงในภายบหลัง โดยเรียงลำตับจากเริ่มตื่นนอน จนถึงเวลานอนของทุกๆคน




นำข้อมูลของทั้ง4คนมาจัดเรียงเพื่อเปรียบเทียบ


นำข้อมูลที่มีมาจัดเรียงใหม่โดยกำหนดสีเพื่อให้เกิดความเชื่อมโยงของSequenceเข้าด้วยกัน

นำข้อมูลได้ไปออกแบบโดยอาจจำเรียงตามนี้หรืออาจมีการเปลี่ยนแปลงภายหลัง โดยกำหนดให้ช่องสี่เลรายมแทนภาพเคลื่อนไหวในเวลานั่นๆ

วันอาทิตย์ที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2550

Sequence ใหม่ที่เกิดจากการเรียงตัวของคู่ขนาน

คำว่า"คู่ขนาน"ในความเป็นจริงนั้น หมายถึง การเรียงขนานกันของอะไรบางอย่างที่ไม่ใช่แค่เส้นหรือวัตถุ โดยไม่มีจุดเริ่มและจุดจบเดียวกันแต่ต้องดำเนินไปด้วยกัน คล้ายกับฝาแฝดมาก

การโลกคู่ขนานนั้นมาอยู่จริง จึงก่อให้เกิดทฤษฎีต่างๆที่เกี่ยวกับคู่ขนานตามมา
1. ญาณหยั่งรู้ เพราะเราได้อับอิทธิพลจากจากตัวเราอีกคนที่อยู่ในดลกคู่ขนานมิติอื่น คล้ายประตูการเวลาของโดเรมอนที่เปิดไปแล้วจะเจอตัวเราหลายๆคนในยุคสมัยที่ต่างกัน....อีกทฤษฎีเชื่อว่าตัวเราแต่ละคนในโลกคู่ขนานที่ต่างกันจะมีอุปนิสัยต่างๆกันออกไป
2. ชาติที่แล้ว...หลายคนอาจคุ้นเคยกับสิ่งที่มำมาเพราะได้รับอิทธิพลจากชาติที่แล้ว ตัวตนในชาติที่แล้วก็อาจเป็นสาเหตุในอุปนิสัยในปัจจุบันได้เป็นต้น
เรื่องทฤษฎีคู่ขนานนนี้ยังมีอีก

เรื่องที่จะทำการเรียงตัวของSequenceใหม่ที่เกิดจากทฤษฎีคู่ขนาน ถ้าเราเปรียยบให้ A,B,C,D แทนเส้นขนาน เราจะได้สมการดังนี้
------------------- A

------------------- B

------------------- C

------------------- D

โดยเราจะเปรียบได้กับจอโทรทัศน์ช่องเล็กๆ 4 ช่อง เมื่อมีการดำเนินของSequenceไปเรื่อยๆ สิ่งที่ได้ผลกลับมาก็จะเกิดSequenceใหม่ อันเกิดจากเหตจุการณ์ทั้ง4 ที่เกิดขึ้น

วันจันทร์ที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2550

สูตรSequenceในเลขคณิต

ลำดับ คือ ฟังก์ชันที่มีโดเมนของเซตเป็นจำนวนเต็มบวก และถ้าลำดับในเซต A คือ ลำดับที่มีเรนจ์เป็นสับเซต ของ A ถ้าโดเมนมีจำนวนจำกัด เรียกว่า ลำดับจำกัด ถ้าโดเมนมีจำนวนไม่จำกัด เรียกว่า ลำดับอนันต์ ถ้าให้ f เป็นเซตของจำนวนเต็มบวกไปยังเซตของจำนวนจริง เราจะเรียก f(1),f(2),f(3),... ว่า ลำดับของจำนวนจริง

ลำดับเลขคณิต (arithmetic sequence หรือ arithmetic progression)
บทนิยาม ลำดับเลขคณิต คือลำดับที่มีผลต่างระหว่างพจน์ที่ n+1 กับพจน์ที่ n มีค่าคงตัว ค่าคงตัวนี้เรียกว่า ผลต่างร่วม (common diferent)

สูตร an = a1 + (n − 1)d


ลำดับเรขาคณิต (geometric sequence or geometric progress)
บทนิยาม ลำดับเรขาคณิตคือ อัตราส่วนระหว่างพจน์ที่ n +1 กับ พจน์ที่ n มีค่าคงตัว ค่าคงตัวนี้เรียกว่าอัตราส่วนร่วม ( common ratio )

สูตร an = a1 * rn − 1


ลำดับฮาร์มอนิก (harmonic sequence)
บทนิยามลำดับฮาร์มอนิกหมายถึง ลำดับที่มีพจนืแต่ละพจน์เป็นส่วนกลับของพจน์ในลำดับเลขคณิต


ลำดับสลับ (alternating sequence)
ลำดับสลับคือ ลำดับซึ่งพจน์ที่ n กับพจน์ที่ n + 1 มีเครื่องหมายตรงกันข้ามกัน


ลำดับฟีโบนักชี (Fibonacci sequence)
ลำดับฟีโบนักชีคือลำดับของจำนวนเต็มบวก ซึ่งมีสมบัติว่า an


ลำดับโคชี (Cauchy sequence)
ลำดับโคชีคือลำดับซึ่ง | an - an − 1 |มีค่าเข้าใกล้ 0 เมื่อ n มีค่ามากขึ้นโดยไม่มีที่สิ้นสุด

Project



วันอาทิตย์ที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2550

เรื่องที่จะทำ.....ภาคต่อ

เรื่องที่จะทำนี้ดูเหมือนว่าจะมีหลายคนที่ไม่เข้าใจผม

ผมเลือกการสร้างลำดับใหม่ คือกำหนดตัวเลือกใหม่จากสิ่งที่มีอยู่เดิม
ก็คือการจัดลำดับของSequenceของหนังลือใหม่โดยอิงจากสิ่งที่มีอยู่เดิม โดยผมเปรียบจำนวนหน้าของหนังสือเป็นSequence และผมทำLinkใหม่ โดยจะออกแบบLinkให้อยู่ภายใต้การควบคุมของผมซึ่งเป็นการกระทำที่มีเงื่อนไข

UndoในSequenceช่วยSequenceได้จริงเหรอ?

ปัญหานี้เนปัฅญหาโลกแตกที่วิตกของห้องอยู่นานแต่พอที่จะสรุปได้ดังคำกล่าวที่ว่าไว้ "เรื่องมี2ด้าน" อะไรล่ะที่มี2 ด้าน ก็undoไงมันมีประโยชน์ตรงที่ทำให้ผู้เห็นจิตนาการได้อย่างมีระบบ คือเหมากับทำงานอย่างมีขึ้นตอน เพื่อที่จะกลับไปแก้ไขเรื่องเก่าๆได้ (finish Sequence)ซึ่งจะมีประโยชน์ในการทำให้เกิดความสำเร็จที่ชัดเจน คือรู้ปลายทางว่างานของเราจะออกเป็นแบบไหน เป็นงานที่ไม่ต้องทดลองให้ยุ่งยาก ส่วนข้อเสียของการ undo ก็คือเราจะขาดความแปลกใหม่ในงานที่จะเกิดขึ้นเพราะว่างานที่ออกมานั้นจะมีลักษะเหมือนกันหมด คือ เป็นงานที่ซ้ำซาก ทำเหมือนๆกัน เพราะทุกคนถูกตั้งโปรแกรมให้ทำ และทำแบบเดียวกัน

ข้อคิด....ทำไมต้องไปแก้ในเมื่อมันเสร็จสิ้นแล้ว.....อันนี้ผมก็ว่ามี2ด้าน
คือแก้เพราะรู้ว่าผิด ไม่แก้เพราะจะได้ความแปลกใหม่....ซึ่งอันนี้จะกลายเป้นเรื่องของการได้มาซึ่งคุณสมบัติ