วันจันทร์ที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2550

ทำลองคู่ขนาน


คู่ขนานแบบความน่าจะเป็นในทฤษฏีของQuantum parallel universe

เมื่อนำทฤษฏีนี้มาใช้กับแผนที่ม.กรุงเทพ...จะหมายถึงการเลือกหรือความน่าจะเป็นว่ามีกี่วิธี
ชุดแรกเป็นวิธีของการเดินตามทาง(ถนน)โดยห้ามเดินทางย้อนกลับมาทางที่เคยเดินไปแล้ว

1.ผ่านหน้ามหาลัย-ผ่านตึก4-ผ่านตึก1-ผ่านตึก2-ผ่านตึก3-ผ่านตึก7-ผ่านตึก9-ไปถึงหอสมุด
2.ผ่านหน้ามหาลัย-ผ่านตึก4-ผ่านตึก5-ผ่านตึก6-ผ่านตึก3-ผ่านตึก7-ผ่านตึก9-ไปถึงหอสมุด
3.ผ่านหน้ามหาลัย-ผ่านตึก4-ผ่านตึก5-ผ่านตึก6-ผ่านตึก10-ผ่านตึก7-ผ่านตึก9-ไปถึงหอสมุด
4.ผ่านหน้ามหาลัย-ผ่านตึก4-ผ่านตึก1-ผ่านตึก2-ผ่านตึก3-ผ่านตึก6-ผ่านตึก10-ผ่านตึก7-ผ่านตึก9-ไปถึงหอสมุด
เมื่อลองคิดนอกกรอบ...การเดินทางไปทางไหนก็ได้โดยไม่เดินซ้ำกับเส้นทางที่เคยเดินมาแล้ว

ซึ่งจะได้วิธีอีกหลายวิธี เช่น
5.ผ่านหน้ามหาลัย-ผ่านตึก4-ผ่านตึก5-ผ่านตึก6-ผ่านตึก10-ผ่านตึก8-ผ่านตึก7-ผ่านตึก9-ไปถึงหอสมุด
6.ผ่านหน้ามหาลัย-ผ่านตึก4-ผ่านตึก1-ผ่านตึก2-ผ่านตึก3-ผ่านตึก6-ผ่านตึก10-ผ่านตึก8-ผ่านตึก7-ผ่านตึก9-ไปถึงหอสมุด
7.ผ่านหน้ามหาลัย-ผ่านตึก4-ผ่านตึก5-ผ่านตึก6-ผ่านตึก10-ผ่านตึก8-ผ่านตึก7-ผ่านตึก9-ผ่านตึก11-ผ่านตึก12-ไปถึงหอสมุด
8.ผ่านหน้ามหาลัย-ผ่านตึก4-ผ่านตึก1-ผ่านตึก2-ผ่านตึก3-ผ่านตึก6-ผ่านตึก10-ผ่านตึก8-ผ่านตึก7-ผ่านตึก9-ผ่านตึก11-ผ่านตึก12-ไปถึงหอสมุด
9.ผ่านหน้ามหาลัย-ผ่านตึก4-ผ่านตึก1-ผ่านตึก2-ผ่านตึก3-ผ่านตึก7-ผ่านตึก9-ผ่านตึก11-ผ่านตึก12-ไปถึงหอสมุด
10.ผ่านหน้ามหาลัย-ผ่านตึก4-ผ่านตึก1-ผ่านตึก2-ผ่านตึก3-ผ่านตึก8-ผ่านตึก7-ผ่านตึก9-ผ่านตึก11-ผ่านตึก12-ไปถึงหอสมุด
11.ผ่านหน้ามหาลัย-ผ่านตึก4-ผ่านตึก1-ผ่านตึก2-ผ่านตึก3-ผ่านตึก6-ผ่านตึก10-ผ่านตึก8-ผ่านตึก7-ไปถึงหอสมุด
12.ผ่านหน้ามหาลัย-ผ่านตึก4-ผ่านตึก5-ผ่านตึก6-ผ่านตึก10-ผ่านตึก8-ผ่านตึก7-ไปถึงหอสมุด
13.ผ่านหน้ามหาลัย-ผ่านตึก4-ผ่านตึก5-ผ่านตึก6-ผ่านตึก10-ผ่านตึก8-ผ่านตึก7-ผ่านตึก9-ผ่านตึก11-ผ่านตึก12-ไปถึงหอสมุด
สรุปการทดลอง
-เป็นระบบSequenceที่มีจุดเริ่มและจุดจบเดียวกัน(มีทางเข้าทางเดียวและทางออกทางเดียว)
-มีการจัดเรียงที่ไม่เหมือนกัน โดยอาจมีการสลับของSequenceบางพจน์ได้
-จำนวนของSequenceอาจไม่เท่ากันก้อได้
-มีการกำหนดให้บางตัวต้องตามบางตัวเท่านั้น หรือตามด้วยตัวไหนก็ได้
-การทดลองนี้เป็นการทดลองที่ใช้ชื่อของตึกตั้งแต่ตึก1-12มาใช้เพื่อให้เกิดความเข้าใจง่าย
-การทดลองนี้ไม่ใช่การทดลองที่สมบูรณ์แต่เเป็นการหยิบบางส่วนมาชี้ เพื่อตอบโจทย์แบบคู่ขนานแบบQuantum


สรุปงานทดลองที่จะเกิดขึ้น
-มีลักษณะคล้ายตัวอย่างดังกล่าว โดยนำการเชื่อมโยง การสลับ ความน่าจะเป็นมาใช้ในงานออกแบบ

ไม่มีความคิดเห็น: